สรุปวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ด้วยวัธจักรการเรียนรู้ร่วมกับการใช้ผังมโนทัศน์พบว่าเด็กอนุบาลของกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์น้ำในภาพรวมสูงขึ้นกว่าก่อนทดลองโดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์น้ำในภาพรวมก่อนทดลอง
1.64 คะแนนและหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นเป็น 2.66 คะแนนเมื่อพิจารณาตาม
ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์น้ำด้านการใช้ก่อนทดลอง 1.50
คะแนนและหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นเป็น 2.60 คะแนนในด้านการดูแลรักษาก่อนการทดลอง 1.86
คะแนนและหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นเป็น 2.75
คะแนนจะเห็นได้ว่าด้านการใช้เด็กอนุบาลกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์น้ำเพิ่มสูงขึ้นมาถึง
1.1 คะแนนเมื่อเทียบกับด้านการดูแลรักษาที่มีค่าเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้น 0.89
คะแนนเพราะในชื่อประจำวันของเด็กเมื่อเด็กมีโอกาสได้รับการส่งเสริมในเรื่องการใช้น้ำมากกว่าเรื่องการดูแลเนื่องจากเด็กอนุบาลไม่ได้รับการส่งเสริมให้ออกมาเดินเล่นหรือวิ่งเล่นข้างนอกห้องเรียนตามลำพังน้องสาครูผู้สอนเป็นผู้พาออกไปซึ่งครูมักจะพาไปเล่นกลางแจ้งมากกว่าออกไปสำรวจธรรมชาติทำให้เด็กอนุบาลจึงมีโอกาสค่อนข้างน้อยที่จะได้ดูแลแหล่งน้ำในโรงเรียนผลจากการวิจัยพบว่าการสอนผังมโนทัศน์ที่แทรกอยู่ในทุกขั้นตอนของการจัดประสบการณ์ด้วยวัธจักรการเรียนรู้ร่วมกับผังมโนทัศน์ช่วยให้เด็กมีความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์น้ำด้านการใช้และ
ด้านการดูแลรักษาที่สูงขึ้นเพราะเด็กได้ผ่านกระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเองด้วยการสรุปและจัดระบบความคิดจากกระบวนการเรียนรู้ด้วยเทคนิคของผังมโนทัศน์เป็นประจำอย่างสม่ำเสมอทำให้เด็กได้ทบทวนความรู้และต่อยอดความเข้าใจจากสิ่งที่ได้เรียนมาอย่างรวดเร็วสอดคล้องกับวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถทบทวนความเข้าใจและเนื้อหาได้อย่างรวดเร็วง่ายต่อการต่อยอดไปสู่ความรู้ใหม่จากการสรุปความรู้เห็นเป็นคำที่สั้นกระชับขนาดทบทวนความรู้เรื่องการอนุรักษ์น้ำบวกกับการได้ฟังของรสชาติและต่อยอดความรู้ความเข้าใจเด็กจึงมีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นรวมถึงการสอนให้เด็กใช้เส้นเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ทำให้เด็กได้จัดระบบความคิดอย่างมีระบบจนเกิดเป็นความเข้าใจอย่างแท้จริง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น